บทความ
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อบุตา อาการและวิธีรักษา
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อบุตา (Subconjunctival hemorrhage) เกิดจากเส้นเลือดขนาดเล็กๆ ที่อยู่ในชั้นเยื่อบุตามีการฉีกขาด ทำให้มีเลือดขังอยู่ใต้เยื่อบุตา จึงเห็นเป็นจุดเลือดออกแดงๆ เป็นปื้นๆ หรืออาจจะพบเป็นสีแดงกระจายทั่วใต้เยื่อบุตา จึงทำให้สังเกตเห็นได้ชัดเจน คนไทยเรามักจะเรียกเยื่อบุตา ชั้นใต้เยื่อบุตา และเนื้อเยื่อตาขาว รวมๆกันว่า ตาขาว ภาวะเลือดออกใต้เยื่อบุตานี้ พบได้ทุกช่วงอายุ แต่พบในผู้ใหญ่ได้บ่อยกว่าในเด็ก
ทำงานหนัก เครียด ไม่พัก เสี่ยงหัวใจขาดเลือด
การหักโหมออกกำลังกายอย่างหนัก ทำให้เกิดการอักเสบทุกส่วนของร่างกาย ร่วมทั้งหัวใจ ทั้งหัวใจห้องบน และหลอดเลือดหัวใจ การเกิดการอักเสบที่หัวใจห้องบนเสี่ยงต่อการเกิดหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว
“วัคซีนผู้สูงอายุ” ฉีดไว้ ห่างไกลโรค
อายุที่เพิ่มขึ้น...มักมาพร้อมกับภูมิคุ้มกันในร่างกายที่ลดลง ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป อาจมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่ายและอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน สิ่งสำคัญที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุมีภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้นและห่างไกลจากโรคร้ายต่างๆ ได้ดีนั่นก็คือ “การฉีดวัคซีน”
Alcohol and the heart แอลกอฮอล์ตัวร้าย ทำลายหัวใจ
แอลกอฮอล์ที่มากกว่า 6 DRINKS ต่อวันยังสามารถเพิ่มโอกาสการเกิดหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิด SVT ได้
ฟันผุนิดเดียว ไม่เป็นอะไรจริงหรอ?
“ฟัน” นับเป็นอีกอวัยวะหนึ่งที่สำคัญของร่างกายที่ต้องหมั่นดูแลรักษาให้มีความแข็งแรง เพราะนอกจากจะช่วยในการบดเคี้ยวอาหารแล้ว ฟันยังมีส่วนสำคัญในการช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพที่ดี
หลายคนคงได้ยินคำว่า “ฟันผุ” บ่อยครั้ง และคิดว่าฟันผุนิดหน่อยคงไม่เป็นอะไร แต่จริงๆแล้ว หากปล่อยให้ฟันผุโดยไม่รักษา เนื้อฟันอาจถูกทำลายถึงโพรงประสาท และรากฟัน จนเกิดปัญหาตามมา ไม่ว่าจะอาการเสียวฟัน ปวดฟัน มีกลิ่นปาก และอื่นๆอีกมากมาย แล้วจะมีวิธีดูแลอย่างไรไม่ให้เกิดฟันผุ หรือถ้ามีฟันผุควรทำอย่างไร ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักโครงสร้างของฟันกัน
เมื่อลูกน้อยเป็นโรคภูมิแพ้ คุณพ่อคุณแม่ควรดูแลอย่างไร
โรคภูมิแพ้ เป็น โรคที่พบได้บ่อยในเด็ก พ่อแม่หลาย ๆ คนคิดว่า เพราะลูกยังเล็กจึงเป็นภูมิแพ้เมื่อโตขึ้นไปอาการของโรคอาจจะหายไปเอง ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว สิ่งที่ควรจะทำคือการพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุและรักษาที่ต้นเหตุ เพื่อเป็นการรับมือกับโรคภูมิแพ้ที่จะเกิดขึ้นกับลูกน้อย ก่อนที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา
ดูแลตอนนี้ ดีกว่าจากไป
อย่าปล่อยให้ร่างกายของคุณอ่อนแอ สุขภาพเป็นสิ่งที่ประเมินค่าไม่ได้ แต่หลายคนกลับมองข้ามการดูแลสุขภาพของตนเองจนกว่าจะป่วยหนัก การตรวจสุขภาพประจำปีและการฉีดวัคซีน ไม่ใช่เพียงแค่ทางเลือก แต่เป็นกลยุทธ์สำคัญในการป้องกันโรคร้ายและรักษาสุขภาพให้แข็งแรงในระยาว ถ้าเป็นคุณจะเลือก “ป้องกัน” หรือ “รอให้เจ็บป่วย” ?
สัญญาณ “โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด” ตรวจพบไว รักษาได้ทัน
“โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด” เป็นภาวะที่หลอดเลือดหัวใจมีการตีบตัน ทำให้เลือดไปหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้ไม่เพียงพอ โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเป็นโรคที่มีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นทุกปี สาเหตุอาจเกิดจากพฤติกรรมต่างๆ อาทิ การบริโภคอาหาร การไม่ค่อยออกกำลังกาย ไม่ค่อยได้ตรวจสุขภาพ จึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดได้มากขึ้น
Check list พฤติกรรมเสี่ยง..... อาจทำให้มีบุตรยาก
ภาวะมีบุตรยาก (Infertility) คือ การที่คู่สมรสพยายามมีบุตรด้วยกัน โดยมีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอโดยไม่ใช้การคุมกำเนิด แต่ยังไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ สาเหตุของการมีบุตรยากนั้นมีความหลากหลายและซับซ้อน อาจเกิดจากฝ่ายหญิง ฝ่ายชาย หรือทั้งสองฝ่ายร่วมกัน